ด้านโรคระบาด ผลกระทบทางธรรมชาติ และปัญหาสาธารณูปโภค
|
ความถี่
|
1. ความเสี่ยงที่บุคลากรหรือนักศึกษา ติดเชื้อที่ก่อให้เกิดโรค COVID-19
|
8
|
2. ความเสี่ยงที่ภาควิชาฯ จะเกิดอัคคีภัยที่ทำให้งานหยุดชะงักอย่างน้อย 1 วัน ตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้นไป
|
5
|
3. กระแสไฟฟ้าดับ ทำให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนหรือทำงานวิจัยได้
|
5
|
4. การเกิดอุบัติเหตุจากกิ่งไม้/ต้นไม้หักหรือโค่นภายในคณะฯ ที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน
|
1
|
5. น้ำประปาไม่ไหล
|
1
|
ด้านนักศึกษา อาจารย์
|
|
1. จำนวนนักศึกษาลดลง
|
9
|
2. ปัญหาสุขภาพจิตของนักศึกษา
|
4
|
3. การไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้
|
4
|
4. นักศึกษาทุจริตระหว่างการสอบออนไลน์
|
3
|
5. ความเสี่ยงที่นักศึกษาจะไม่ได้ทำตามขั้นตอนการศึกษาที่บัณฑิตวิทยาลัยระบุไว้/นักศึกษาสำเร็จการศึกษาล่าช้า
|
3
|
6. ความเสี่ยงที่ ความสามารถในด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษาไม่เพียงพอ
|
1
|
7. นักศึกษามีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 (SG1) : การศึกษาสากลบ่มเพาะผู้ประกอบการ
|
1
|
8. ปัญหาการปฏิเสธการรับนักศึกษาฝึกงาน จาก COVID-19
|
1
|
ด้านห้องปฏิบัติการ
|
|
1. ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยภายในห้องปฏิบัติการการใช้สารเคมี/จุลชีพก่อโรค
|
4
|
2. การเกิดอุบัติเหตุน้ำรั่วส่งผลกระทบต่ออุปกรณ์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์
|
2
|
3. ความเสี่ยงที่ห้องปฏิบัติการวิจัยจะผ่านมาตรฐานการรับรอง ESPReL น้อยกว่า 50%
|
1
|
4. ความเสี่ยงที่การดำเนินงานวิจัยอาจสะดุดหรือติดขัดเนื่องจากมีครุภัณฑ์วิจัยไม่เพียงพอ/เสื่อมสภาพ
|
1
|
ด้านวิจัย/ ทุนวิจัย
|
|
1. จำนวนผลงานวิจัยลดลง
|
5
|
2. เงินทุนวิจัยลดลง
|
3
|
ด้าน IT
|
|
1. ระบบคอมพิวเตอร์หยุดชะงัก/ ล่มกระทบต่อการให้บริการ
|
1
|
2. ความเสี่ยงที่ งาน/ภาค/กลุ่มสาขา/ศูนย์ จะมีบุคลากรการกระทำความผิด พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) จนเกิดข้อร้องเรียนตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป
|
1
|
3. การเข้าถึงข้อมูลโดยผู้ไม่ได้รับอนุญาตบนเครื่องแม่ข่ายของคณะวิทยาศาสตร์
|
1
|
ด้านอื่น ๆ
|
|
1. ความเสี่ยงที่ภาควิชา/ศูนย์/กลุ่มสาขาวิชา/งาน จะมีบุคลากรทุจริต เช่น รับสินบน คอรัปชั่น ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ตั้งแต่ 1 คน ขึ้นไป
|
15
|
2. ความเสี่ยงที่ภาควิชาจะบรรลุตัววัดระดับภาค (MU KPI ที่ตกลงตาม PA กับคณบดี) น้อยกว่า 80%
|
5
|
3. ความเสี่ยงที่ภาควิชาฯ ใช้เงินเกินกว่าที่ได้รับการจัดสรรหรือที่มีอยู่จริง ตอนต้นปีงบประมาณ
|
5
|
4. รายได้จากบริการวิชาการลดลง
|
4
|
5. การดำเนินงานตามกระบวนการ SIPOC ไม่เกิดประสิทธิผล
|
2
|
6. ความเสี่ยงที่จะขาดแคลนบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ/การขาดแคลนบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ
|
2
|
7. หลักสูตรไม่ได้รับการรับรองคุณภาพ AUN-QA ระดับอาเซียน ในระยะเวลา 2 ปี
|
1
|
ด้านอื่น ๆ (ต่อ)
|
|
8. ความเสี่ยงที่ตัวชี้วัดการดำเนินงานตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ของภาควิชาฯ ต่ำกว่าค่าเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 25 เมื่อสิ้นปีงบประมาณ 2565
|
1
|
9. ความเสี่ยงที่การขออนุมัติใช้เงินเพื่อประกอบกิจกรรมตามข้อตกลงการปฏิบัติงานของภาควิชาฯ ปีงบประมาณ 2565 ไม่ได้รับการอนุมัติ
|
1
|
10. เงินที่ได้รับจัดสรรจากคณะ ลดลง และไม่มีเงินสนับสนุน Matching Fund
|
1
|
11. ความเสี่ยงที่ภาควิชามีบุคลากรสายวิชาการที่เป็นหัวหน้าโครงการของโครงการที่ได้รับเงินทุนวิจัยน้อยกว่าร้อยละ 40 ของจำนวนบุคลากรสายวิชาการ
|
1
|
12. กลยุทธ์การบริหารจัดการภาควิชาฯ ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น
|
1
|
13. ภาควิชาฯ ดำเนินการเบิกจ่ายโครงการตาม PA ล่าช้ากว่าแผนที่ตั้งไว้
|
1
|
14. ขาดสภาพคล่องทางการเงินระยะยาว
|
1
|
15. ผลการดำเนินงานโครงการเชิงยุทธศาสตร์ตามที่ระบุไว้ในข้อตกลงการปฏิบัติงาน (PA) ไม่ได้ตามค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ (T= ร้อยละ 75)
|
1
|
16. ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2563-2566 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) ไม่ได้ตามค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้
|
1
|
17. ความเสี่ยงที่ บุคลากรสายสนับสนุนของ งาน/ภาค/กลุ่มสาขา/ศูนย์ จะได้รับการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่การเป็น Smart Citizen/Global talents ไม่ถึงเป้าหมาย
|
1
|
18. ความเข้าใจ และการให้บริการข้อมูลด้านทรัพย์สินทางปัญญา ที่คลาดเคลื่อนและอาจส่งผลให้นักวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเสียประโยชน์
|
1
|
19. รายรับอันเกิดจากการให้บริการวิชาการ / ประชุมวิชาการที่มาจากต่างประเทศ
|
1
|
20. การสื่อสารในภาวะวิกฤติ
|
1
|