การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์ ปีงบประมาณ 2567 (ระดับสูง/สูงมาก ส่งมหาวิทยาลัย)

ลำดับที่
เหตุการณ์ความเสี่ยง
ความเสี่ยงด้าน
โอกาส
ผลกระทบ
ระดับความเสี่ยง
1
การสื่อสารของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือบุคคลภายนอกฯ ที่นำเสนอข้อมูลผ่านทางสื่อออนไลน์ และมีผลกระทบที่ไม่ดีต่อภาพลักษณ์ของคณะฯ
ด้านกลยุทธ์
2
4
สูง
2
จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาลดลงไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือจำนวนที่คาดว่าจะรับเข้าศึกษาในอนาคต
ด้านกลยุทธ์
3
4
สูงมาก
3
วิธีการประเมินผลการเรียนของนักศึกษาที่สอบในพื้นที่ และแบบออนไลน์ ณ ปัจจุบัน ไม่สามารถป้องกันการทุจริตได้
ด้านการดำเนินงาน
3
3
สูง
4
การเจ็บป่วยสุขภาพกาย/สุขภาพจิต หรือได้รับอุบัติเหตุของนักศึกษาจากการเรียน และการเจ็บป่วยสุขภาพกาย/สุขภาพจิต หรือได้รับอุบัติเหตุของผู้ปฏิบัติงานจากการปฏิบัติงาน
ด้านการดำเนินงาน
3
3
สูง
5
ขาดสภาพคล่องทางการเงินระยะยาว
ด้านการเงิน
1
4
สูง
6
การดำเนินงานหรือการปฏิบัติหน้าที่ที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตหรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมของหน่วยรับตรวจ
ด้านการทุจริต
1
4
สูง
สรุปเหตุการณ์ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นภายในหน่วยงานต่างๆ ของคณะวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567
(จำนวน 28 หน่วยงาน)
ด้านการทุจริต คอรัปชั่น การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ
ความถี่
1
ความเสี่ยงที่จะมีบุคลากรทุจริต เช่น รับสินบน คอรัปชั่น มีผลประโยชน์ทับซ้อนกับประโยชน์ส่วนรวม จนเกิดข้อร้องเรียนตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป
13
2
การไม่ปฏิบัติตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)
4
3
บุคลากรไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ที่รับผิดชอบ
2
4
การตรวจรับพัสดุไม่เป็นไปตามสัญญาหรือตามระเบียบที่กำหนด/การทุจริตในด้านการจัดซื้อจัดจ้าง
1
5
การเบิกจ่ายงบประมาณโครงการวิจัยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
1
ด้านโรคระบาดและผลกระทบทางธรรมชาติ
ความถี่
1
ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า 2019
2
2
การติดต่อโรคร้ายแรงก่อนเดินทางเข้าประเทศของชาวต่างชาติที่มาศึกษาหรือปฏิบัติงาน ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
1
3
การเกิดอุบัติเหตุภายในคณะฯ ที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน
1
4
การเกิดฝุ่นละออง PM2.5
1
ด้านนักศึกษา / อาจารย์
ความถี่
1
จำนวนนักศึกษาลดลง
11
2
นักศึกษาไม่สำเร็จตามแผนการศึกษา
6
3
ปัญหาสุขภาพจิต / การเจ็บป่วยฉุกเฉินของนักศึกษา
5
4
นักศึกษาทุจริตการสอบ
4
5
ความเสี่ยงที่นักศึกษาจะไม่ได้ทำตามขั้นตอนการศึกษาที่บัณฑิตวิทยาลัยระบุไว้
1
6
นักศึกษามีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 (SG1) : การศึกษาสากลบ่มเพาะผู้ประกอบการ
1
7
การขาดแคลนอาจารย์ที่มีคุณสมบัติสำหรับการเป็นผู้รับผิดชอบหลักสูตรของภาควิชาฯ
1
ด้านการเงิน
ความถี่
1
ความเสี่ยงที่ภาควิชาใช้เงินเกินว่าที่ได้รับจัดสรรหรือที่มีอยู่จริงตอนต้นปีงบประมาณ
4
2
ขาดสภาพคล่องทางการเงินระยะยาว
3
ด้านวิจัย/ ทุนวิจัย
ความถี่
1
ทุนวิจัยลดลง
4
2
ความเสี่ยงที่การดำเนินงานวิจัยอาจสะดุดหรือติดขัดเนื่องจากมีครุภัณฑ์วิจัยไม่เพียงพอ/เสื่อมสภาพ
3
3
จำนวนผลงานวิจัยลดลง
2
รายได้จากบริการวิชาการลดลง
ความถี่
1
รายได้จากการให้บริการวิชาการลดลง
4
ด้าน IT
ความถี่
1
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตภายในส่วนงาน หรือมหาวิทยาลัยขัดข้องไม่สามารถใช้งานได้
3
2
การเข้าถึงข้อมูลโดยผู้ไม่ได้รับอนุญาตบนเครื่องแม่ข่ายของคณะวิทยาศาสตร์
2
ด้านอัคคีภัย / ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
ความถี่
1
อุบัติเหตุการปฏิบัติงานภายในห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การใช้สารเคมีอันตราย/ การใช้จุลชีพก่อโรค/ การรั่วไหลของสารเคมี
5
2
การเกิดอัคคีภัย
5
ไฟฟ้าดับ
ความถี่
1
ความเสี่ยงที่ภาควิชาจะไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้เพื่อปฏิบัติงาน
4
2
ความเสี่ยงที่โครงสร้างพื้นฐานของภาควิชา เช่น ระบบประปาและไฟฟ้า เสียหาย ส่งผลให้เครื่องมือและทรัพย์สินเสียหายตลอดจนเป็นอันตราย หรือนักวิจัยไม่สามารถดำเนินงานวิจัยได้มากกว่า 3 วัน
1
ด้านอื่นๆ
ความถี่
1
ความเสี่ยงที่ภาควิชาจะบรรลุตัววัดระดับภาค (MU KPI ที่ตกลงตาม PA กับคณบดี) น้อยกว่า 80%
3
2
ประเด็นความเสี่ยงที่ภาควิชาจะมีกระบวนการ (ตามแนวทาง SIPOC) ไม่เกิดประสิทธิผลตั้งแต่ร้อยละ 20 จากกระบวนการทั้งหมด (เช่นจาก 10 กระบวนการ ไม่เกิดผลลัพธ์ 3 กระบวนการ)
2
3
ผู้ปฏิบัติงานในภาควิชาฯ ไม่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบครุภัณฑ์ประจำปี
1
4
ระบบการบริหารโครงสร้างพื้นฐานภายในคณะ ไม่อำนวยต่อการเรียนการสอน เช่น การจองรถ การจองห้องเรียน
1
5
การติดตามค่า บำรุงสถาบัน ส่วนภาควิชา จากการบริการวิชาการ ไม่ครบถ้วน
1
6
ภาควิชาฯ ยังจัดหาคู่เทียบได้ไม่ชัดเจน
1
7
ข้อผิดพลาดทางด้านกฎระเบียบ การเงิน
1
8
การขาดแคลนบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญความสามารถในอนาคต ทั้งสายสนับสนุน และวิชาการ ไม่สามารถสนับสนุนตามกลยุทธ์ และดำเนินการตามพันธกิจหลัก
1
9
สถานการณ์ทางการเงินของกลุ่มสาขา หลังการจัดเก็บค่าธรรมเนียมแบบเหมาจ่าย ป.ตรี เริ่ม 66  ป.โท-เอก 67
1
10
การลาออกของบุคลากร
1
11
ผลกระทบของการไม่สามารถปฏิบัติงาน / จัดการเรียนการสอน ได้ในภาวะปกติ
1
12
การดำเนินงานด้านการตรวจสอบไม่เป็นไปตามแผนการตรวจสอบประจำปี
1
13
ผลการดำเนินงานโครงการเชิงยุทธศาสตร์ ไม่ได้ตามค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ (T= ร้อยละ 80)
1
14
การเกิดโจรกรรมภายในคณะฯ
1
15
ด้านการประสานงานการให้บริการรับทำวิจัย และให้บริการทางวิชาการ ของคณะวิทยาศาสตร์: การดำเนินการตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยหลักเกณฑ์การให้บริการรับทำวิจัย และให้บริการทางวิชาการ พ.ศ. 2561
1
16
การป้องกันอุบัติเหตุต่างๆ ที่อาจเกิดอันตรายถึงแก่ชีวิต
1
17
ความต้องการงบประมาณที่เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับแผนการดำเนินงานรูปแบบใหม่ๆ
1
18
งานวิจัยหยุดชะงัก/ช้า/ไม่ต่อเนื่อง จากเหตุการณ์น้ำรั่วชั้น 2-3 อาคารตึก N
1
19
ไม่สามารถเปิดสอนรายวิชาบัณฑิตศึกษา (ป.โท) ที่มีความจำเพาะต่อหลักสูตรเนื่องจากมีนักศึกษาลงทะเบียนน้อยกว่า 3 คน
1
20
การสื่อสารของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือบุคคลภายนอกฯ ที่นำเสนอข้อมูลผ่านทางสื่อออนไลน์ และมีผลกระทบที่ไม่ดีต่อภาพลักษณ์ของคณะฯ
1
21
โครงการบริการวิชาการที่เปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารพาณิชย์  เมื่อโครงการปิดแล้ว แต่ไม่ประสงค์ปิดบัญชีธนาคาร
1

แบบฟอร์มการบริหารความเสี่ยง โดย ศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล (intranet)

ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ วัชรี ใจซื่อกุล โทร.0-2201-5036

Solverwp- WordPress Theme and Plugin