การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์ ปีงบประมาณ 2566 (ระดับสูง/สูงมาก ส่งมหาวิทยาลัย)

ลำดับที่
เหตุการณ์ความเสี่ยง
ความเสี่ยงด้าน
โอกาส
ผลกระทบ
ระดับความเสี่ยง
1
นักวิจัยบางส่วนยังไม่สามารถแข่งขันรับทุนได้
ด้านกลยุทธ์
3
3
สูง
2
การเจ็บป่วยสุขภาพกาย/สุขภาพจิต หรือได้รับอุบัติเหตุของนักศึกษาจากการเรียน และการเจ็บป่วยสุขภาพกาย/สุขภาพจิต หรือได้รับอุบัติเหตุของผู้ปฏิบัติงานจากการปฏิบัติงาน
ด้านกลยุทธ์
3
3
สูง
3
การสื่อสารของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือบุคคลภายนอกฯ ที่นำเสนอข้อมูลผ่านทางสื่อออนไลน์ และมีผลกระทบที่ไม่ดีต่อภาพลักษณ์ของคณะฯ
ด้านกลยุทธ์
2
4
สูง
4
จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาลดลงไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือจำนวนที่คาดว่าจะรับเข้าศึกษาในอนาคต และส่งผลกระทบต่ออัตราเร็วในการผลิตผลงานวิจัยของคณะฯ
กลยุทธ์
3
4
สูงมาก
5
วิธีการประเมินผลการเรียนของนักศึกษาที่สอบแบบออนไลน์ ณ ปัจจุบัน ไม่สามารถป้องกันการทุจริตได้
การดำเนินงาน
3
3
สูง
6
ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า 2019
การดำเนินงาน
4
3
สูงมาก
7
ขาดสภาพคล่องทางการเงินระยะยาว
การเงิน
1
4
สูง
8
การดำเนินงานหรือการปฏิบัติหน้าที่ที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตหรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมของหน่วยรับตรวจ
การทุจริต
1
5
สูงมาก

สรุปเหตุการณ์ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นภายในหน่วยงานต่างๆ ของคณะวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566                     

(จำนวน 28 หน่วยงาน)    

ด้านการทุจริต คอรัปชั่น การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ
ความถี่
1. การดำเนินงานหรือการปฏิบัติหน้าที่ที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตหรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม
15
2. การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบของคณะ และมหาวิทยาลัย รวมถึงข้อกฎหมาย เช่น พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดยบุคลากรหรือนักศึกษา
5
3. ความเสี่ยงที่ภาควิชาฯ จะมีบุคลากรไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ จนพบการรั่วไหลของเชื้อจุลินทรีย์ 
1
4. ความเสี่ยงที่งานจะมีบุคลากรไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ที่รับผิดชอบ
1
5. การตรวจรับพัสดุไม่เป็นไปตามสัญญาหรือตามระเบียบที่กำหนด 
1
ด้านโรคระบาดและผลกระทบทางธรรมชาติ
1. ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า 2019
11
2. การเกิดฝุ่นละออง PM2.5
1
3. การเกิดอุบัติเหตุภายในคณะฯ ที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน 
1
ด้านนักศึกษา / อาจารย์
1. จำนวนนักศึกษาลดลง
9
2. นักศึกษาทุจริตระหว่างการสอบ
4
3. นักศึกษาไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนบัณฑิตวิทยาลัย
2
4. จำนวนกรณีการร้องเรียนการทุจริตสอบ ในรายวิชาที่เปิดสอนโดยภาควิชาฯ ในปีการศึกษา 2565 มี 5 กรณีขึ้นไป
1
5. นักศึกษาสำเร็จการศึกษาล่าช้า
1
6. นักศึกษามีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 (SG1) : การศึกษาสากลบ่มเพาะผู้ประกอบการ
1
7. ความเสี่ยงที่ ความสามารถในด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษาไม่เพียงพอ
1
8. การขาดแคลนอาจารย์ที่มีคุณสมบัติสำหรับการเป็นผู้รับผิดชอบหลักสูตรของภาควิชาฯ
1
ด้านผลงานวิจัย/ ทุนวิจัยลดลง
1. จำนวนผลงานวิจัยน้อยกว่าค่าเป้าหมาย
2
2. เงินทุนวิจัยลดลง
2
3. นักวิจัยบางส่วนยังไม่สามารถแข่งขันรับทุนได้
1
4. ทุน Full Scholarship ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
1
5. จำนวนเงินทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกที่ได้รับไม่เป็นไปตามตัวชี้วัดข้อตกลงการปฏิบัติงานของส่วนงาน
1
6.ความเสี่ยงที่ภาควิชามีจำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ใน International peer-reviewed journals น้อยกว่า 0.8 เรื่องต่อจำนวนบุคลากรสายวิชาการ
1
รายได้จากบริการวิชาการลดลง
1. รายได้จากบริการวิชาการลดลง 
2
2. รายได้จากการให้บริการวิชาการที่เกิดจากภาคอุตสาหกรรมลดลง
1
ด้านปัญหาสุขภาพนักศึกษาและบุคลากร
1. สภาวะความเครียดนำไปสู่โรคซึมเศร้า /ปัญหาสุขภาพกายและจิตใจของนักศึกษา
2
2. ปัญหาทางสุขภาพกายและใจของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการสัมผัสสารเคมีในกระบวนการถนอมร่างอาจารย์ใหญ่
1
3. การเจ็บป่วยสุขภาพกาย/สุขภาพจิต หรือได้รับอุบัติเหตุของนักศึกษาจากการเรียน และการเจ็บป่วยสุขภาพกาย/สุขภาพจิต หรือได้รับอุบัติเหตุของผู้ปฏิบัติงานจากการปฏิบัติงาน
1
4. ปัญหาสุขภาพจิต / การเจ็บป่วยฉุกเฉินของนักศึกษา 
1
ด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
1. ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยภายในห้องปฏิบัติการ การใช้สารเคมี/ จุลชีพก่อโรค/ การรั่วไหลของสารเคมี
3
2. ความเสี่ยงที่อาจเกิดอันตรายจากการปฏิบัติงานด้านชีวภาพ และการใช้สารเคมี รวมถึงการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์สำหรับการวิเคราะห์ทางชีวเคมี
1
ด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
1. เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ให้บริการวิชาการเสีย
1
2. ความเสี่ยงที่การดำเนินงานวิจัยอาจสะดุดหรือติดขัดเนื่องจากมีครุภัณฑ์วิจัยไม่เพียงพอ/เสื่อมสภาพ
1
3. ได้รับเงินจัดสรรจากคณะฯ ลดลง และไม่มีเงินสนับสนุนสำหรับการจัดหาครุภัณฑ์หรือปรับปรุงพื้นที่ภาควิชาฯ
1
4. การดำเนินการทำวิจัย หยุดชะงัก เนื่องจากเครื่องมือมีปัญหา และเกิดกับเครื่องใหม่ 
1
ไฟฟ้าดับ
1. ความเสี่ยงที่จะไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้เพื่อปฏิบัติงาน
3
2. ไฟฟ้าดับ มีผลต่อเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่กำลังทำงาน เกิดความเสียหายกับตัวเครื่องมือ และการทดลอง (ถ้ากำลังการทดลอง)
1
3. ความเสี่ยงที่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตภายในส่วนงานขัดข้องไม่สามารถใช้งานได้ หรือ ความเสี่ยงเหตุจากกระแสไฟฟ้าขัดข้องนานเกิน 60 นาที
1
ด้านอื่นๆ
ความถี่
1
การใช้เงินเกินกว่าที่ได้รับจัดสรรหรือที่มีอยู่จริงตอนต้นปีงบประมาณ
5
2
ความเสี่ยงที่ภาควิชาจะบรรลุตัววัดตามยุทธศาสตร์ระดับภาค (MUKPI ที่ตกลงตาม PA กับคณบดีน้อยกว่า 80%)
2
3
ประเด็นความเสี่ยงที่ภาควิชาจะมีกระบวนการ (ตามแนวทาง SIPOC) ไม่เกิดประสิทธิผลตั้งแต่ร้อยละ 20 จากกระบวนการทั้งหมด (เช่นจาก 10 กระบวนการ ไม่เกิดผลลัพธ์ 3 กระบวนการ)
2
4
การเกิดอัคคีภัย / ความเสี่ยงในการเกิดอัคคีภัยทั้งจากเหตุสุดวิสัย หรือ อุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน
2
5
หลักสูตรของภาควิชาไม่ได้รับการรับรองตามเกณฑ์ AUN-QA (V 4.0) ภายในปี 2567
1
6
ขาดสภาพคล่องทางการเงินระยะยาว
1
7
ไม่สามารถเปิดสอนรายวิชาบัณฑิตศึกษา (ป.โท) ที่มีความจำเพาะต่อหลักสูตรเนื่องจากมีนักศึกษาลงทะเบียนน้อยกว่า 3 คน
1
8
โครงการบริการวิชาการที่เปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารพาณิชย์  เมื่อโครงการปิดแล้ว แต่ไม่ประสงค์ปิดบัญชีธนาคาร
1
9
การสื่อสารของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือบุคคลภายนอกฯ ที่นำเสนอข้อมูลผ่านทางสื่อออนไลน์ และมีผลกระทบที่ไม่ดีต่อภาพลักษณ์ของคณะฯ
1
10
การขออนุมัติใช้เงินเพื่อประกอบกิจกรรมตามข้อตกลงการปฏิบัติงานของภาควิชาฯ ปีงบประมาณ 2566 ไม่ได้รับการอนุมัติ
1
11
ความเสี่ยงที่จะไม่สามารถรับนักศึกษาเข้าเรียนหลักสูตร ป.ตรี ชีววิทยาได้เนื่องจากการปรับปรุงหลักสูตรตามวงรอบไม่แล้วเสร็จ
1
12
ความเสี่ยงที่ภาควิชามีบุคลากรสายวิชาการที่เป็นหัวหน้าโครงการของโครงการที่ได้รับเงินทุนวิจัยน้อยกว่าร้อยละ 40 ของจำนวนบุคลากรสายวิชาการ
1
13
ความไม่ยืดหยุ่นของนโยบาย/มาตรการต่อสภาวการณ์ฉุกเฉิน
1
14
ข้อผิดพลาดทางด้านกฎระเบียบ การเงิน
1
15
การมีบุคลากร (สายวิชาการ และสนับสนุน) ไม่เพียงพอต่อปริมาณงานในกลุ่มสาขาฯ ซึ่งมีภาระงาน/ปริมาณงานเทียบเท่าภาควิชา แต่มีบุคลากรประจำน้อย
1
16
งบประมาณของหลักสูตรจาก major fee และค่าลงทะเบียนที่น้อยลง
1
17
ผลกระทบของการไม่สามารถปฏิบัติงาน / จัดการเรียนการสอน ได้ในภาวะปกติ
1
18
การดำเนินงานด้านการตรวจสอบไม่เป็นไปตามแผนการตรวจสอบประจำปี
1
19
ผลการดำเนินงานโครงการเชิงยุทธศาสตร์ ไม่ได้ตามค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ (T= ร้อยละ 80)
1
20
ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2563-2566 ไม่ได้ตามค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ มากกว่าร้อยละ 20
1
21
การเกิดโจรกรรมภายในคณะฯ
1
22
การเข้าถึงข้อมูลโดยผู้ไม่ได้รับอนุญาตบนเครื่องแม่ข่ายของคณะวิทยาศาสตร์
1
23
ระบบคอมพิวเตอร์หยุดชะงัก/ ล่มกระทบต่อการให้บริการ
1
24
การป้องกันอุบัติเหตุต่างๆ ที่อาจเกิดอันตรายถึงแก่ชีวิต
1
25
ด้านการประสานงานการให้บริการรับทำวิจัย และให้บริการทางวิชาการ ของคณะวิทยาศาสตร์ : การดำเนินการตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยหลักเกณฑ์การให้บริการรับทำวิจัย และให้บริการทางวิชาการ พ.ศ. 2561
1
26
การเบิกจ่ายงบประมาณโครงการวิจัยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
1
27
ความเสี่ยงที่จะเกิดสถานการณ์ที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอน อย่างกะทันหัน
1
28
ความเสี่ยงที่โครงสร้างพื้นฐานของภาควิชา เช่น ระบบประปาและไฟฟ้า เสียหาย ส่งผลให้เครื่องมือและทรัพย์สินเสียหายตลอดจนเป็นอันตราย หรือนักวิจัยไม่สามารถดำเนินงานวิจัยได้มากกว่า 3 วัน
1
29
งานวิจัยหยุดชะงัก/ช้า/ไม่ต่อเนื่อง จากเหตุการณ์น้ำรั่วชั้น 2-3 อาคารตึก N
1
30
การเกิดอุบัติเหตุเล็กน้อยเช่น น้ำรั่ว/อัคคีภัย สารเคมีระเบิดในห้องปฏิบัติการ
1

Solverwp- WordPress Theme and Plugin