หลักสูตรการฝึกอบรม
กลุ่มรวมวิชาที่ 1 การบริหารตนเอง (Managing Yourself) รวม 45.5 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น 2 หมวด
หมวดที่ 1 (Module 1) การเรียนรู้และบริหารตนเอง (self management) รวม 30 ชั่วโมง
1. ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา 18 ชั่วโมง
2. การติดตามผลการประยุกต์ใช้ความเป็นผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา 9 ชั่วโมง
3. การสร้างสมองแห่งความสุข สู่ความสำเร็จสำหรับผู้บริหาร 3 ชั่วโมง
หมวดที่ 2 (Module 2) การเสริมสร้างบุคลิกภาพทางสังคม (personality development) รวม 15.5 ชั่วโมง
4. การสร้างเสริมบุคลิกภาพที่ดีของผู้บริหาร 3 ชั่วโมง
5. การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายที่ดีสำหรับผู้บริหาร 3.5 ชั่วโมง
6. ประเพณีรับประทานอาหารแบบตะวันตก 3 ชั่วโมง
7. การสื่อสารและการนำเสนออย่างมืออาชีพสำหรับผู้บริหาร
กลุ่มรวมวิชาที่ 2 การบริหารองค์การและภาวะผู้นำ (Managing Organization & Leadership) รวม 48 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น 3 หมวด
หมวดที่ 1 ภาวะผู้นำและการบริการองค์กร (Leadership Organizational Management) รวม 22.5 ชั่วโมง
ทิศทางการบริหารมหาวิทยาลัยสู่การเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก
การบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์
การบริหารมหาวิทยาลัยวิจัยสู่การเป็น World Class University
บทบาทสภามหาวิทยาลัยต่อการบริหารจัดการ
ผู้นำเพื่อการสร้างวิสัยทัศน์องค์กร
บทบาทผู้บริหารกับการสร้างวัฒนธรรมองค์กรสู่ความยั่งยืน
เสวนาการบริหารกับการสร้างวัฒนธรรมองค์กรสู่ความยั่งยืน
เสวนาการบริหารระบบการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
กฎหมายทั่วไป และกฎหมายควรรู้สำหรับผู้บริหาร
กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาองค์กร
หมวดที่ 2 การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) รวม 16.5 ชั่วโมง
การบริการเชิงกลยุทธ์เพื่อการแข่งขันสู่ความสำเร็จขององค์กร
กลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์องค์กรสำหรับมหาวิทยาลัย
หมวดที่ 3 ธรรมาภิบาล (Good Governance) รวม 9 ชั่วโมง
หลักการทรงงาน: ต้นแบบของธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหาร
การบริการงานด้านการงบประมาณ การเงิน การบัญชี การบริหารพัสดุให้มีประสิทธิภาพ
เสวนามุมมองการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารองค์กรสู่ความยั่งยืน
กลุ่มรวมวิชาที่ 3 เครื่องมือและเทคนิคในการบริหารจัดการ (Management Tool and Techniques) รวม 18 ชั่วโมง
เทคนิคการแก้ปัญหาและการตัดสินใจของผู้บริหาร
การบริหารความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
การบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อความสำเร็จและยั่งยืนขององค์กร
การจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัย
EdPEx กับการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็น World Class University
กลุ่มรวมวิชาที่ 4 การจัดการทุนในภาวะการณ์แข่งขัน (Financial Capital Management) รวม 10.5 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น 2 หมวด
หมวดที่ 1 การจัดการทุนการเงิน (Financial Capital Management) รวม 4.5 ชั่วโมง
การบริหารการจัดงบประมาณและการเงินของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ด้านการเงินสำหรับผู้บริหารมหาวิทยาลัย
หมวดที่ 2 การจัดการทุนมนุษย์ (Human Capital Management) รวม 6 ชั่วโมง
การบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อความเป็นเลิศขององค์กร
กลุ่มรวมวิชาที่ 5 การบริการจัดการสู่อนาคต (Management for the Future) รวม 4.5 ชั่วโมง
การศึกษาดูงาน ณ Bathroom Design/ 3M/ GISTDA/ KTC/ DTAC/ Google Thailand/ รพ.บำรุงราษฎร์
University Ranking VS World Class University
ส่วนเพิ่มเติม (56.5 ชั่วโมง)
เสวนาแลกเปลี่ยนหัวข้อตามความสนใจของผู้เข้าอบรม 3 ชั่วโมง
Executive Lunch Talk 2 ชั่วโมง
ศึกษาดูงาน ณ โรงพยาบาลศิริราชการุณย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 3 ชั่วโมง
ศึกษาดูงานในหัวข้อ “Excellence in treatment standards and excellence in service and management standards” พร้อมเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้บริหารโรงพยาบาลฯ
การศึกษาดูงาน ณ โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงราย 4วัน 3 คืน เสวนาเตรียมข้อมูลศึกษาดูงาน สรุปและถอดบทเรียน/นำเสนอสิ่งที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาหน่วยงาน ส่วนงาน และมหาวิทยาลัย (งานกลุ่ม 1 ชิ้น) 27 ชั่วโมง
การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล 21.5 ชั่วโมง
ระดมสมองจัดทำสารนิพนธ์
เสวนาพูดคุยเพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการประยุกต์องค์ความรู้ที่ได้จากการอบรม
ศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูลและประมวลผลเพื่อสรุป และนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม
นำเสนอรายงานผลการศึกษาค้นคว้าและองค์ความรู้ที่ได้จากการอบรมในวันปิดโครงการ
ผู้เข้าอบรม EDP #15
การอบรมบุคลิคภาพ วันที่ 6 ตุลาคม 2559
กำหนดการ
วันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน 2559
08.50-09.20 น. ลงทะเบียน ณ ห้องทวีวัฒนา ชั้น6 ศูนย์ปฏิบัติการศาลายาพาวิลเลียน วิทยาลัยนานาชาติ ม.มหิดล ศาลายา
09.30 น. กล่าวรายงานพิธีเปิดโครงการฯ โดย รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธุ์: รองอธิการบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล
09.30-11.00 น. พิธีเปิดและบรรยายพิเศษ “ทิศทางการบริหารมหาวิทยาลัยสู่การเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก” โดย ศ.คลินิกนพ.อุดม คชินทร: อธิการบดีม.มหิดล
11.15-12.00 น. ชี้แจ้งหลักสูตร/กิจกรรมแนะนำตัว โดยนางจริยา ปัญญา: ผู้อำนวยการกองทรัพยากรบุคคล
12.00-13.00 น. วัดตัวตัดเสื้อสูท/รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-16.00 น. ชี้แจ้งหลักสูตร/กิจกรรมแนะนำตัว โดยนางจริยา ปัญญา: ผู้อำนวยการกองทรัพยากรบุคคล
วันอังคารที่ 4 ตุลาคม 2559
09.00-12.00 น. การบริหารงานด้านการงบประมาณ การเงิน การบัญชี การบริหารพัสดุให้มีประสิทธิภาพ โดย : อ.เฟื่องฟ้า เทียนประภาสิทธิ์
13.00-16.00 น. แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้กับ MU-EDP#14 เสวนาพูดคุยความก้าวหน้า การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล
วันพุธที่ 5 ตุลาคม 2559
09.00-10.30 น. University Ranking VS World Class University โดย : ศ.นพ.บรรจง มไหสวริยะ: รองอธิการบดี
10.45-12.15 น. การบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์ โดย : รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธุ์: รองอธิการบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล
13.00-16.00 น. EdPEX กับการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็น World Class University การบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อความสำเร็จและยั่งยืนขององค์กร รศ.ดร.ภก.สมภพ ประธานธุรารักษ์: รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ
วันพฤหัสบดีที่ 6 ตุลาคม 2559
09.00-10.30 น. การบริหารมหาวิทยาลัยวิจัยสู่การเป็น World Class University โดย : ศ.ดร.ศันสนีย์ ไชยโรจน์: รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
10.45-12.15 น. การบริหารการจัดงบประมาณและการเงินของมหาวิทยาลัย โดย : รศ.นพ.ประดิษฐ์ สมประกิจ: รองอธิการบดีฝ่ายการคลังและแผนงาน
13.30-16.30 น. การสร้างเสริมบุคลิกภาพที่ดีของผู้บริหาร โดย : อ.เนตรา เทวบัญชาชัย
วันอาทิตย์ที่ 9 ตุลาคม 2559
07.00 น. เดินทางไปต่างจังหวัด
10.00-17.00 น. ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา โดย อ.ดร.จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร และทีมกระบวนกรศูนย์จิตตปัญญา
18.30-22.30 น กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
กำหนดการ
0700 ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา
0945 ถึง Fisherman’s Resort หาดเจ้าสำราญ จังหวัดเพชรบุรี ลงทะเบียนและกิจกรรมเลือกประธานรุ่น MU-EDP #15
1000 ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา โดย อาจารย์ ดร.จิรัฐกาล พงศ์ภคเธีรร และทีมกระบวนกรศูนย์จิตตปัญญา
1200 รับประทานอาหารกลางวัน
1300 ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา (ต่อ)
1700 พักผ่อนตามอัธยาศัย
1800 รับประทานอาหารเย็น
1930 กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม 2559
09.00-20.30 น. ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา โดย อ.ดร.จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร และทีมกระบวนกรศูนย์จิตตปัญญา
กำหนดการ
0830 ลงทะเบียน ถ่ายรูปเพื่อทำทำเนียบรุ่น
0900 ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา (ต่อ)
1200 รับประทานอาหารกลางวัน
1300 ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา (ต่อ)
1800 รับประทานอาหารเย็น
1900 ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา (ต่อ)
วันอังคารที่ 11 ตุลาคม 2559
09.00-15.00 น. ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา โดย อ.ดร.จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร และทีมกระบวนกรศูนย์จิตตปัญญา
กำหนดการ
0830 ลงทะเบียน ถ่ายรูปเพื่อทำทำเนียบรุ่น
0900 ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา (ต่อ)
1200 รับประทานอาหารกลางวัน
1300 ผู้นำแบบ “มหิดล” ตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา (ต่อ)
1530 แวะซื้อของฝาก ณ ร้านนัทวัน แล้วเดินทางกลับสู่ม.มหิดล ศาลายา
วันพฤหัสที่ 13 ตุลาคม 2559
09.00-16.00 น. การสื่อสารและการนำเสนออย่างมืออาชีพสำหรับผู้บริหาร โดย: คุณเบญญาภา บุญพรรคนาวิก (ครูโอ๋ AF)
วันอังคารที่ 18 ตุลาคม 2559
09.00-12.00 น. กลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์องค์กรสำหรับมหาวิทยาลัย โดย: รศ.ดร.กฤตินี ณัฏฐวุฒิสิทธิ์
14.00-16.00 น. บทบาทสภามหาวิทยาลัยต่อการบริหารจัดการ โดย ศ.เกียรติคุณ นพ.เกษม วัฒนชัย: นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล
วันพุธที่ 19 ตุลาคม 2559
MU FIT for EDP15
09.30-11.30 น.การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายที่ดีสำหรับผู้บริหาร ทดสอบสรรถภาพทางกาย ณ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา
11.30-13.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน ณ ร้าน Music Sqare ว.ดุริยางคศิลป์
14.00-15.30 น. เสวนาพูดคุยความก้าวหน้า การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล
วันพฤหัสบดีที่ 20 ตุลาคม 2559
0900-1030 คำแนะนำในการออกกำลังกายและดูแลสุขภาพ โดย อ.ดร.ชลชัย อานามนารถ
09.00-12.00 น. เสวนากรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาองค์กร ทีมวิทยากรภายใน (กองกฎหมาย/กองทรัพยากรบุคคล/กองบริหารงานวิจัย)
10.30-16.00 น. เสวนาพูดคุยความก้าวหน้า การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล
วันอังคารที่ 25 ตุลาคม 2559
09.00-12.00 น. ผู้นำเพื่อการสร้างวิสัยทัศน์องค์กร โดย: คุณอภิวุฒิ พิมลแสงสุริยา
13.00-16.00 น กลยุทธ์ด้านการเงินสำหรับผู้บริหารมหาวิทยาลัย โดย : รศ.พงศ์จิตติมา หินเธาว์
วันพุธที่ 26 ตุลาคม 2559
0900-1600 เสวนาพูดคุยความก้าวหน้า การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล
09.00-12.00 น. กฎหมายทั่วไป และกฎหมายควรรู้สำหรับผู้บริหาร โดย : ศ.ดร.สุรพล นิติไกรพจน์
13.00-16.00 น. กรณีศึกษา: การทำ Branding ของมูลนิธิรามาธิบดี คุณพรรณสิรี คุณากรไพบูลย์ศิริ: ผู้จัดการมูลนิธิรามาธิบดี
วันพฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม 2559
09.00-16.00 น. เทคนิคการแก้ปัญหาและการตัดสินใจของผู้บริหาร โดย : ดร.สุชาติ สังข์เกษม
วันอังคารที่ 1 พฤศจิกายน 2559
09.00-12.00 น. การติดตามผลการประยุกต์ใช้ความเป็นผู้นำแบบมหิดลตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา โดย : อ.ดร.จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร และทีมกระบวนกรศูนย์จิตตปัญญา
13.00-16.00 น. การบริหารความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง โดย : ศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา
วันพุธที่ 2 พฤศจิกายน 2559
09.00-16.00 น. กระบวนการวางแผนและจัดทำแผนกลยุทธ์ โดย : ดร.รัฐ ธนาดิเรก
วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤศจิกายน 2559
09.00-16.00 น. การบริหารแผนกลยุทธ์สู่ความสำเร็จขององค์กร โดย : ดร.รัฐ ธนาดิเรก
วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน 2559
09.00-12.00 น. บทบาทผู้บริหารกับการสร้างวัฒนธรรมองค์กรสู่ความยั่งยืน โดย : อ.ดร.สมประสงค์ โกศลบุญ
13.00-16.00 น. เสวนาการบริหารระบบการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 โดย : ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน 2559
09.00-12.00 น. หลักการทรงงาน: ต้นแบบของธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหาร โดย : ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล
13.00-16.00 น. เสวนาเตรียมการศึกษาดูงานโครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.เชียงราย
วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤศจิกายน 2559
09.00-16.00 น.การบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อความเป็นเลิศขององค์กร โดย : รศ.ดร.จิรประภา อัครบวร
วันอังคารที่ 15 พฤศจิกายน 2559
ศึกษาดูงานโครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.เชียงราย
0430 ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ไปสนามบินดอนเมือง
0545 พร้อมกันที่สนามบินดอนเมือง
0730 ออกเดินทางจากกรุงเทพฯ สู่สนามบินแม่ฟ้าหลวง เที่ยวบิน DD8714
0930 ออกเดินทางจากสนามบินแม่ฟ้าหลวง ไปยังโครงการพัฒนาดอยตุง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
1000 รับประทานอาหาว่างหน้าห้องออดิทอเรียรม หอแห่งแรงบันดาลใจ ทำกิจกรรม ทำความรู้จัก และความคาดหวังในการศึกษาดูงาน
1030 ฟังการบรรยายในหัวข้อ “หลักการพัฒนาตามตำราแม่ฟ้าหลวง และการพัฒนาชั้นต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ” และศูนย์ข้อมูลโครงการพัฒนาดอยตุง การพัฒนาที่มีประสิทธิผลต้องเริ่มจากข้อมูลจริง และการพัฒนาต้องวัดผลได้ โดยการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และพูดคุยกับชาวบ้านอาวุโสถึงวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ก่อนโครงการเข้ามา ณ ห้องประชุมออดิทอเรียม
1200 รับประทานอาหารกลางวัน ณ ห้องครัวตำหนัก
1300 ชมหอแห่งแรงบันดาลใจ เรื่องราวของราชสกุลมหิดล ผ่านพระราชจริยวัตร ปรัชญา และหลักการทรงงานที่เรียบง่าย พระวิริยะอุตสาหะ ที่มุ่งพัฒนาชีวิตความเป้นอยู่ที่ดีของคนไทย และสร้างประโยชน์สุขแก่แผ่นดินที่ต่างทรงเป็นแรงบันดาลใจให้กันและกัน เพื่อให้คนไทย โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้และเข้าใจ บทบาทของราชสกุลมหิดล ที่มีต่อคนไทยและแผ่นดิน อีกทั้งสร้างแรงบันดาลใจ และจุดประกายให้ผู้ที่มาเยี่ยมชมคิดดี มุ่งมั่นประพฤติดี เพื่อประโยชน์ของส่วนรวมต่อไป
1345 เดินทางสู่แปลงป่าเศรษฐกิจ บริษัทนวุฒิ จำกัด ไซต์ 1
1400 ดูงานแปลงปลูกป่าเศรษฐกิจ แมคคาเดเมียนัท กาแฟอาราบิก้าดอยตุง และโรงงานแปรรูปแมคคาเดเมียนัท
โดยป่าเศรษฐกิจหมายถึง ป่าไม้ยืนต้นที่ให้ผลผลิตที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง และมีศักยภาพในการนำไปแปรรูปและเพิ่มมูลค่าได้อย่างต่อเนื่อง จึงสามารถสร้างรายได้ให้คนดูแลในระยะยาว จึงเป็น ตัวแปรสำคัญที่ทำให้คนกับป่าอยู่ด้วยกันได้อย่างพึ่งพากัน พืชเศษรฐกิจที่โครงการพัฒนาอยตุงฯ เลือกมาส่งเสริมคือ กาแฟพันธุ์อาราบิก้าและแมคคาเดเมีย โดยระดมทุนจากบริษัท 6 แห่ง จัดตั้งบริษัทนวุฒิ จำกัด ขึ้นเพื่อดำเนินการปลูกป่าเศรษฐกิจ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 โดยระบุไว้ในบริคณห์สนธิของบริษัทว่าผลกำไรทั้งหมดจะนำกลับไปพัฒนาดอยตุงต่อไป
1500 ออกเดินทางไปโครงการปลูกป่าปางมะหัน ตำบลเทอดไทย อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
1730 ถึงโครงการปลูกป่าปางมะหัน เข้าที่พัก และพักผ่อนตามอัธยาศัย
1830 รับประทานอาหารค่ำ ที่สำนักงานโครงการปลูกป่าปางมะหัน
1930 กิจกรรมถอดบทเรียน การเรียนรู้ประจำวัน ณ ศาลากิจกรรม
2100 พักผ่อนตามอัธยาศัย
วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน 2559
ศึกษาดูงานโครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.เชียงราย
0800 รับประทานอาหารเช้า ณ สำนักงานโครงการปลูกป่าปางมะหัน
0900 บรรยายสรุป “การปลูกป่าปลูกคน” ด้วยวิธีการ “ปลูกป่าแบบปลูกเสริม” พื้นที่ปางมะหัน โดยคุณอาและอ่วยแม และ “การปลูกป่าแบบไม่ปลูก” พื้นที่ปูนะ โดยคุณอภิสิทธิ์ ปอดอแก้ว ณ ศาลายกิจกรรม สำนักงานปางมะหัน
ย้อนหลังกลับไปดูสภาพการพัฒนาขั้นต้นน้ำ ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ ปีที่ 50 พื้นที่บ้านปางมะหัน ตำบลเทอดไท อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียบงราย บนพื้นที่ 14,015 ไร่ ตามแนวชายแดนไทย-พม่า โครงการปลูป่าปางมะหัน เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. 2548 โดยการนำหลักการความรู้ และข้อผิดพลาดเรื่องการปลูกป่า ปลูกคน ของดอยตุงมาปรับใช้
1000 รับประทานอาหารว่าง ณ ศาลากิจกรรม สำนักงานปางมะหัน
1030 พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่ ในพื้นที่โครงการปลูกป่าปางมะหัน และปูนะ เกี่ยวกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ก่อนและหลังโครงการฯ เข้ามา
1200 รับประทานอาหารกลางวัน ณ สำนักงานโครงการปลูกป่าปางมะหัน
1300 เดินเท่้าจากสำนักงานปางมะหัน ไปยังกองทุนสุกรเหมยซาน ที่หมู่บ้านปางมะหัน ระหว่างเส้นทางจะได้เห็น พื้นที่ป่าต้นน้ำ พื้นที่ทำกินของชาวบ้าน และพื้นที่ปลูกชาน้ำมัน
1530 รับประทานอาหารว่างพร้อมฟังบรรยายธนาคารสุกรเหมยซานของโครงการปางมะหัน
1600 เดินทางจากกองทุนฯ กลับไปยังโครงการพัฒนาดอยตุงฯ
1800 เข้าที่พักดอยตุงลอด์จ และพักผ่อนตามอัธยาศัย
1900 รับประทานอาหารค่ำ ณ ครัวศาลาลีลาวดี
2000 ถอดบทเรียนการเรียนรู้ประจำวัน ณ ห้องคลับ 31
2130 พักผ่อนตามอัธยาศัย
วันพฤหัสบดีที่ 17 พฤศจิกายน 2559
ศึกษาดูงานโครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.เชียงราย
0800 รับประทานอาหารเช้า ณ ศาลาลีลาวดี
0900 ออกเดินทางไปยังศูนย์ผลิตและจำหน่ายงานมือ
0930 ดูโรงงานทอผ้าเย็บผ้า โรงานกระดาษสา โรงงานคั่วกาแฟ และโรงงานเซรามิก ที่ศูนย์ผลิตและจำหน่ายงานมือ
พัฒนาจากโรงฝึกอาชีพหัตถกรรมและอุตสาหกรรมที่ตั้งชึ้นเพื่อสร้างงานสร้างรายได้สำหรับทุกคนไม่ว่าหญิงหรือชาย มีการศึกษาหรืออ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ คนสูงอายุแต่ยังทำงานได้ หรือคนหนุ่มสาว โดยการต่อยอดความชำนาญและภูมิปั๗๗าท้องถิ่นและเน้นการพัฒนา “เพิ่มมูลค่า” ผลิตภัณฑ์งานมือต่าง ๆ ตลอดเวลา “ห่วงโซ่มูลค่า” (value chain) อย่างครบวงจรด้วย “เทคโนโลยีที่เหมาะสม” เพื่อให้เกิดเอกลักษณ์ ได้รูปแบบและคุณภาพตามที่ “ตลาดต้องการ” ปัจจุบันงานหัตถกรรมเป็นหนึ่งในหน่วยธุรกิจสำคัญที่นอกจากจะสร้างรายได้ที่มั่นคงให้กับชุมชนในโครงการพัฒนาดอยตุงฯ แล้วยังช่วยทำให้โครงการ “สามารถเลี้ยงตนเองได้” โดยไม่ต้องพึ่งงบประมาณของรัฐ หรือเงินบริจาค นอกจากนั้นความหลากหลายของกิจกรรมสร้างรายได้นี้ยังเป็นการ “กระจายความเสี่ยง” ความล้มเหลวทางธุรกิจของหน่วยธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งด้วย
รับประทานอาหารว่างหน้าโรงคั่วกาแฟ
1130 เดินทางไปยังครัวตำหนัก
1200 รับประทานอาหารกลางวัน ณ ครัวตำหนัก
1300 ชมพระตำหนักดอยตุง
พระตำหนักดอยตุงเป็นที่ประทับและที่ทรงงานของสมเด็จย่า เพื่อพระองค์จะได้สังเกตและทำงานพัฒนาอย่างใกล้ชิด “บ้านที่ดอยตุง” เกิดจากพระราชกระแสรับสั่ง “ถ้าไม่มีโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ฉันจะไม่สร้างบ้านอยู่ที่นี่” พระตำหนักดอยตุงจึงเป็นสัญลักษณ์แสดงความเรียบง่ายและการทรงงานหนักเพื่อพสกนิกรของพระองค์
1330 ออกเดินทางไปองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ฟ้าหลวง
1340 พูดแลกเปลี่ยนกับผู้บริหารองค์การบริหารองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ฟ้าหลวง และคนรุ่นใหม่ของดอยตุง
ผู้บริหารคนรุ่นใหม่ขอดอยตุง ที่เกิดจากการสร้างคน (อาสา คพต.พ.) ของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ตอนเริ่มต้นมี 144 คน ปัจจุบันอาสาสมัครเหล่านี้กลายเป็นผู้นำของชุมชนถึง 90% และได้น้อมนำแนวทางพระราชดำริของสมเด็จย่าไปใช้ในการบริหารจัดการในชุมชนของตนเอง (พร้อมรับประทานอาหารว่างหน้าศาลาประชุม อบต. แม่ฟ้าหลวง)
1530 ออกเดินทางไปสวนรุกขชาติแม่ฟ้าหลวง ดอยช้างมูบ ย้อนดูดอยตุงในอดีต
1600 ชมสวนรุกขชาติแม่ฟ้าหลวง ดอยช้างมูบ สวนดอกกุหลาบพันปี
สวนรุกขชาติแม่ฟ้าหลวง ตั้งอยู่บริเวณจุดสูงสุดขอเทือกเขาดอยนางนอน ที่ความสูง 1,509 เมตรจากระดับน้ำทะเล อดีตเป็นพื้นที่ปลูกฝิ่น และเป้นเส้นทางลำเลียงยาเสพติดที่สำคัญของอาณาบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ ปัจจุบันทางโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ได้สร้างเป็นสวนดอกกุหลาบพันปี โดยรวบรวมจากแหล่งต่าง ๆ จาก 4 ทวีปทั่วโลก
1700 ชมอาทิตย์อัสดง ณ ฐานทหารดอยช้างมูบ และเดินทางกลับที่พักดอยตุงลอด์จ
1800 เดินทางไปยังดอยตุงลอดจ์
1830 รับประทานอาหารค่ำ ณ ห้องอาหารครัวลีลาวดี
1930 กิจกรรมถอดบทเรียนการเรียนรู้ประจำวัน ณ ห้องคลับ 31
2100 พักผ่อนตามอัธยาศัย
วันศุกร์ที่ 18 พฤศจิกายน 2559
ศึกษาดูงานโครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.เชียงราย
0700 รับประทานอาหารเช้า ณ ศาลาลีลาวดี พร้อมเช็คเอาท์
0800 ฟังบรรยายสรุปเรื่อง “การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่โครงการฯ” ณ ห้องประชุมวีไอพี อาคารเอนกประสงค์
0900 ออกเดินทางไปยังโรงเรียนขาแหย่งพัฒนา
0910 ชมการเรียนรการสอนแบบบูรณาการ ยึดเด็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ โดยใช้หลักสูตร Montessori ของโรงเรียนขาแหย่งพัฒนา
1000 ออกเดินทางกลับไปยังห้องประชุมวีไอพี อาคารเอนกประสงค์
1020 รับฟังการบรรยายสรุปเรื่องการพัมนาตามตำราแม่ฟ้าหลวง และโครงการขยายผล ณ ห้องประชุมวีไอพี อาคารเอนกประสงค์
1200 รับประทานอาหารกลางวัน ณ ครัวตำหนัก
1300 กิจกรรมชมสวนแม่ฟ้าหลวง พร้อมทำกิจกรรม Tree Top Walk Way ทางเดินเรือนยอดไม้
สวนแม่ฟ้าหลวงเป็นวนไม้ดอกไม้ประดับเมืองหนาวที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวหลักช่วยสร้างงานและรายได้ให้ดอยตุง ทั้งยังช่วยพัฒนาทักษะอาชีพที่หลากหลาย ตั้งแต่การท่องเที่ยวหลักที่ช่วยสร้างงานและรายได้ให้ดอยตุง ทั้งยังช่วยพัฒนาทักษะอาชีพที่หลากหลาย ตั้งแต่การท่องเที่ยว การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และโรงเพาะปลูก ซึ่งทักษะและรายได้เหล่านี้ถือเป็นการสร้างพลังให้ชุมชน เปลี่ยนอาชีพให้ชาวบ้านหลายคนจาการเป็นแรงงานรับจ้างมาเป็นเจ้าของกิจการ
แวะซื้อของฝากและของที่ระลึกตามอัธยาศัย
1500 ออกเดินทางไปร้านของฝากนันทวรรณ หน้าทางเข้าสนามบิน
1600 ซื้อของฝากตามอัธยาศัย (อีกรอบ)
1645 ออกเดินทางจากร้านของฝากนันทวรรณ สู่สนามบินเชียงราย
1700 เช็คอิน และรอเดินทางกลับกรุงเทพฯ
1825 เดินทางกลับกรุงเทพฯ ด้วยสายการบินนกแอร์ เที่ยวบินที่ DD8723
ที่มา: กำหนดการศึกษาดูงาน โครงการสร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้เข้าอบรมหลักสูตรพัฒนานักบริหารระดับกลาง มหาวิทยาลัยมหิดล ณ โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงราย ระหว่างวันอังคารที่ 15 ถึงวันศุกร์ที่ 18 พฤศจิกายน 2559
วันอังคารที่ 22 พฤศจิกายน 2559
09.00-12.00 น. การจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัย โดย : รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจำรัสเลิศ
13.00-16.00 น. กรณีศึกษา: การจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัย โดย : อ.นพ.อัครินทร์ นิมมานนิตย์
วันพุธที่ 23 พฤศจิกายน 2559
08.30-11.30 น. ศึกษาดูงาน ด้าน Excellence in treatment standards and excellence in service and management standards” ณ โรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล พร้อมเสวนาแลกเปลี่ยนพูดคุยกับศาสตราจารย์คลินิก นพ.ประดิษฐ์ ปัญจวีณิน
11.30-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน ณ โรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการรุณย์
วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน 2559
09.00-12.00 น. การติดตามผลการประยุกต์ใช้ความเป็นผู้นำแบบมหิดลตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา โดย : อ.ดร.จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร และทีมกระบวนกรศูนย์จิตตปัญญา
13.00-16.00 น. มุมมองวิธีคิดเพื่อสร้างชีวิตที่เปี่ยมสุขทั่วทั้งองค์กร (The Office : Happiness station for all) โดย : คุณพิทยากร ลีลาภัทร์
วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน 2559
09.00-12.00 น. ศึกษาดูงานพร้อมพูดคุยแลกเปลี่ยนกับผู้บริหารของบริษัท ด้าน”องค์กรแห่งเทคโนโลยีและนวัตกรรม”
12.30-14.00 รับประทานอาหารกลางวัน
วันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม 2559
09.00-12.00 น. เสวนาพูดคุยความก้าวหน้า การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล
13.00-16.00 น. เสวนาแลกเปลี่ยนหัวข้อตามความสนใจของผู้เข้าอบรม รอทาบทามวิทยากรภายนอก
วันอังคารที่ 6 ธันวาคม 2559
09.00-12.00 น. เสวนาพูดคุยความก้าวหน้า การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล
12.30-13.30 น. Executive lunch talk อธิการบดี/ศ.นพ.บรรจง/รศ.นพ.ธันย์
13.30-16.00 น. เสวนาพูดคุยความก้าวหน้า การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล
วันพุธที่ 7 ธันวาคม 2559
09.00-11.00 น. เสวนาพูดคุยความก้าวหน้า การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล
11.00-14.00 น. ประเพณีการรับประทานอาหารแบบตะวันตก โดย : ศ.จริยา บรอคเคลแมน
วันพฤหัสบดีที่ 8 ธันวาคม 2559
09.00-12.00 น. เสวนาพูดคุยความก้าวหน้า การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล
13.00-16.00 น. เสวนามุมมองการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารองค์กรสู่ความยั่งยืน โดย : คุณวัชรมงคล เบญจธนะฉัตร์
การใช้เศรษฐกิจพอเพียงกับองค์กรธุรกิจ
วันอังคารที่ 13 ธันวาคม 2559
09.00-12.00 น. การติดตามผลการประยุกต์ใช้ความเป็นผู้นำแบบมหิดลตามกระบวนทัศน์เชิงจิตตปัญญา โดย : อ.ดร.จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร และทีมกระบวนกรศูนย์จิตตปัญญา
13.00-16.00 น. เสวนาพูดคุยความก้าวหน้า การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล
วันพุธที่ 14 ธันวาคม 2559
11.30-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน ณ วิทยาลัยนานาชาติ
13.00-16.00 น. นำเสนอรายงานผลการศึกษาค้นคว้าและองค์ความรู้ การประยุกต์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล พิธีปิดและมอบวุฒิบัตรโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
สถิติการอบรม EDP #15
จำนวนผู้เข้าอบรม 42 คน
เพศหญิง 24 คน เพศชาย 18 คน
อายุเฉลี่ย 43 ปี
อายุงานเฉลี่ย 15 ปี
จำนวนชั่วโมงในการอบรมทั้งหมด 179.5 ชั่วโมง (80% เท่ากับ 143.6 ชั่วโมงที่ต้องเข้าเรียนขั้นต่ำ)
ค่าอบรม 5x,xxx บาท
จำนวนผู้เข้าอบรม EDP #15 จากคณะวิทยาศาสตร์ รวม 3 คน ได้แก่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนากร โอสถจันทร์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย (ภาควิชาฟิสิกส์)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริพงษ์ ฐิตะมาดี หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ)
อาจารย์ ดร.ณัฐพล อ่อนปาน รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคูณภาพและบริหารความเสี่ยง (ภาควิชาชีววิทยา)
จำนวนผู้ผ่านการอบรม EDP
ปี พ.ศ.
2556
2557
2558
2559
จำนวนผู้ผ่านการอบรม EDP ของมหาวิทยาลัยมหิดล
85
36
38
42
จำนวนผู้ผ่านการอบรม EDP (2556 สะสม)
(21)
1
1
3
หัวข้อสารนิพนธ์การอบรม EDP
EDP #1
การพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดลให้เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
การศึกษาภาคชุมชนนานาชาติระดับอุดมศึกษา
การให้บริการวิชาการด้านสุขภาพของมหาวิทยาลัยมหิดลในยุคการเปลี่ยนแปลง
การบริหารมหาวิทยาลัยมหิดลในท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง: ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยมหิดลในยุคการเปลี่ยนแปลง
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 1
ศ.ดร.ศันสนีย์ ไชยโรจน์
รศ.ดร.บัวรอง ลิ่วเฉลิมวงศ์
รศ.ดร.พวงผกา อัมพันธ์จันทร์
EDP #2
การวิเคราะห์รูปแบบระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของมหาวิทยาลัยมหิดลในมิตของการนำไปใช้ใน 4 หน่วยงาน
ข้อเสนอแนะในการจัดหลักสูตรมหาวิทยาลัยมหิดล
การจัดการงานวิจัย
มหาวิทยาลัยมหิดลในศตวรรษที่ 21 ในมิติการบริการวิชาการสังคม
MU Braqnd ภายใต้หัวข้อ “มหิดล มหาวิทยาลัยแห่งศตวรรษที่ 21”
Mahidol University in the 21st Century: Mahidol’s ITCS
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 2
EDP #3
ปฏิรูปการเรียนรู้ กลยุทธ์สู่การผลิตบัณฑิตที่รู้จริง รู้นาน รู้สร้างสรรค์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความสุขของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล
การบริการวิชาการสู่สังคมของมหาวิทยาลัยมหิดล
ปัจจัยด้านสื่อที่ช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพการประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริมภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 3
ผศ.ดร.กันยารัตน์ สุไพบูลย์วัฒน
รศ.ดร.ชื่นจิตต์ บุญเฉิด
EDP #4
ศักยภาพและความพร้อมในการเป็นมหาวิทบาลัยเพื่อการวิจัยในประเทศไทย
การบริหารกลยุทธ์ลูกค้าสัมพันธ์สู่การบริการเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดล
กลยุทธ์มหิดลสู่สากล
สถานการณ์และแนวโน้มการจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัยมหิดล
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 4
รศ.ดร.วิไล หนุนภักดี
นายณัฐพล แนวจำปา
นางรุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุล
EDP #5
การเสริมสร้างวัยรุ่นสู่การเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล
เส้นทางสู่การเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล “MU MAN”
การสร้างความเป็นเลฺสในการบริการสุขภาพและบริการวิชาการ
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 5
EDP #6
การสร้างความเข้มแข็งศิษย์เก่ามหิดล (Strengthen MU Alumni)
สารสนเทศและการสื่อสารสำหรับชาวมหิดล (IT and Communication for MU People)
มหาวิทยาลัยมหิดลไร้ถังขยะ (MU Goes Less Toward Zero Waste)
ใส่ใจและแบ่งปัน (We Care, We Share)
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 6
รศ.ดร.ปราณี ภิญโญชีพ
ผศ.ดร.สมลักษณ์ อสุวพงษ์พัฒนา
EDP #7
มหาวิทยาลัยที่มีการปล่อยคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (Low Carbon University: Case Study of Mahidol University)
ประชาคมแข็งแรง มหิดลแข็งแกร่ง (MU Healthy Society)
โครงการผลึกแห่งปัญญา มหาวิทยาลัยมหิดล ( MU Crystal of Wisdom)
ช่องว่างระหว่างวัยในกลุ่มบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล (Genration Gap in Mahidol University)
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 7
EDP #8
ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยของส่วนงานในมหาวิทยาลัย
21st Century Skill Framework
PA กับคุณภาพชีวิตของบุคลากร
IT and Strategic Management
โอกาสในการเป็นคนมหิดล
Intra Social Network Leads Mahidol University to be Healthy Society
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 8
ผศ.ดร.ชุติมา คูหากาญจน์
ผศ.ดร.สมคิด อมรสมานกุล
EDP #9
ผลกระทบของการกำหนดระยะเวลาการจบการศึกษาภายใน 3 ปี ของหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต
การสำรวจและวิเคราะห์ความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหิดล
ความพึงพอใจของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดลที่มีต่อสวัสดิการด้านสุขภาพ
ดัชนีความสุขตามแนวทาง HAPPY 8 ของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล
การเปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดจากผลการดำเนินการปลูกฝังค่านิยมมหาวิทยาลัยมหิดล (MAHIDOL)
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 9
รศ.ดร.ประหยัด โภคฐิติยุกต์
รศ.ดร.วรรณพงศ์ เตรียมโพธิ์
EDP #10
ความพร้อมของมหาวิทยาลัยในการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
การเป็นองค์กรแห่งความสุขกับความผูกพันในองค์กร
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการด้านการเรียนการสนอ (Teaching Professor)
ทัศนคติด้านความสัมพันธ์ของบุคลากรและส่วนงานที่มีต่อมหาวิทยาลัยมหิดล
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 10
อ.ดร.บริบูรณ์ เนาวประทีป
ผศ.ดร.ณัฐวุธ สิบหมู่
EDP #11
สัมพันธภาพของนักศึกษาเครือข่ายมหิดลพญาไท
การประหยัดพลังงานในมหาวิทยาลัยมหิดล
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ในยุคโลกาภิวัฒน์
ทิศทางการจัดการโครงการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของมหาวิทยาลัยมหิดลที่ตอบสนองต่อความต้องการของสังคม
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 11
EDP #12
แนวทางการวางแผนสืบทอดตำแหน่งทางการบริหาร (Succession Planning) ของมหาวิทยาลัยมหิดล
การรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมของบุคลากรและนักศึกษาต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว อันดับที่ 1 ของประเทศ
แนวทางการบริหารจัดการครุภัณฑ์เสื่อสภาพ หรือหมดความจำเป็นของมหาวิทยาลัยมหิดล
ความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหารกลาง ณ ศูนย์การเรียนรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 12
ศ.ดร.จงกลณี วัฒนาเพิ่มพูล
อ.ดร.ธิติคม พัวพันสวัสดิ์
EDP #13
Transformative Education: จากนโยบายสู่การปฏิบัติ
การศึกษาความชุกและพฤติกรรมเสี่ยงของกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ในบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล
มหาวิทยาลัยมหิดลกับการประกันคุณภาพ: ผลกระทบของเครื่องหมายการประกันคุณภาพต่อมุมมองทางด้านคุณภาพและการตัดสินใจสมัครของนักศึกษา
มุมมองของผู้บริหารต่อบทบาทของมหาวิทยาลัยมหิดลในการปฏิรูปการศึกษา
ความคิดเห็นของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดลต่อการประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 13
รศ.ดร.ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย
EDP #14
การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหิดลเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ของประเทศไทยในทศวรรษหน้า
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 14
รศ.ดร.สิทธิวัฒน์ เลิศศิริ (ประธานรุ่น EDP 14)
การส่งมอบเล่มสารนิพนธ์ของ EDP รุ่นที่ 14 ให้กับรองอธิการบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล
EDP #15
วิเคราะห์แนวคิดของการปรับมหาวิทยาลัย (reprofile university) จาก comprehensive university ไปสู่ focus university
การประเมินหลักสูตรที่มีอยู่ในปัจจุบันของมหาวิทยาลัยมหิดลในมุมมองของ Outcome-based Learning
แนวทางของมหาวิทยาลัยในการสนับสนุนให้ประเทศเข้าสู่ mode Thailand 4.0
การวิเคราะห์หลักสูตรของมหาวิทยาลัยด้าน acitve learning, blended learning, ภาษาอังกฤษ
การวิเคราะห์บทบาทของบุคลากรสายวิชาการกลุ่มอาจารย์เพื่อเพิ่มผลผลิต (productivity) ที่สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายของการเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก (WCU) โดยเฉพาะกลุ่มอาจารย์ที่มีภาระงานด้านบริการวิชาการเป็นภาระงานส่วนใหญ่
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ EDP รุ่น 15
รศ.ดร.ธนากร โอสถจันทร์
ผศ.ดร.สิริพงษ์ ฐิตะมาดี
อ.ดร.ณัฐพล อ่อนปาน
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
จำนวนผู้เยี่ยมชม : 1,737
เว็บไซต์ของงานนโยบายและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้และใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่งบอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็นต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถเลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้
คุกกี้ที่จำเป็น คือคุกกี้ที่จำเป็นต้องมีเพื่อให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้มั่นใจถึงฟังก์ชันพื้นฐานและคุณลักษณะด้านความปลอดภัยของเว็บไซต์
The technical storage or access is necessary for the legitimate purpose of storing preferences that are not requested by the subscriber or user.
คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์/เพื่อประสิทธิภาพ คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้เราจดจำและนับจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์และทราบว่าผู้เข้าชมไปยังหน้าต่างๆ ในเว็บไซต์อย่างไร สิ่งนี้จะช่วยให้เราปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้นได้ในอนาคต ตัวอย่างเช่น ทำให้ผู้ใช้งานพบสิ่งที่ต้องการเข้าถึงได้ง่ายขึ้น
The technical storage or access that is used exclusively for anonymous statistical purposes. Without a subpoena, voluntary compliance on the part of your Internet Service Provider, or additional records from a third party, information stored or retrieved for this purpose alone cannot usually be used to identify you.
The technical storage or access is required to create user profiles to send advertising, or to track the user on a website or across several websites for similar marketing purposes.
Manage consent