การบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของโรค COVID-19

แนวปฏิบัติสำหรับพนักงาน การปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา ติดต่อหน่วยงาน แนวปฏิบัติสำหรับพนักงาน คัดกรองก่อนเข้าทำงานเลือก ลงทะเบียนสำหรับพนักงาน : ประเมินความเสี่ยงการแพร่เชื้อให้กับเพื่อนในที่ทำงาน เลือก ลงทะเบียนพนักงาน >>> ระบุชื่อสถานประกอบการ ” คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล “ กรอกรายละเอียดเพื่อประเมินระดับความเสี่ยง https://savethai.anamai.moph.go.th/main.php การปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา ทำแบบประเมินตนเองสถานศึกษา ก่อนเปิดภาคเรียน 1/2564 ค้นหาสถานศึกษาที่ประเมินมาตรการฯ ผ่าน Thai Stop Covid Plus ติดต่อหน่วยงาน ดาวน์โหลดแบบประเมินเซฟไทย คู่มือและเอกสารที่เกี่ยวข้อง การใช้งานระบบ Save Thai (สำหรับพนักงาน) การปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันโควิด 19 ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2564

โครงการ University Engagement ของคณะวิทยาศาสตร์

ศูนย์ประสานงานกลุ่มภารกิจวิจัยและพัฒนาชุมชนของมหาวิทยาลัยมหิดล รวบรวมข้อมูลโครงการที่มีลักษณะเป็น University Engagement โดยมีหลัก 4 ประการคือ ร่วมคิดร่วมทำแบบหุ้นส่วน (partnership) เกิดประโยชน์ร่วมกันแก่ผู้เกี่ยวข้อทุกฝ่าย (mutual benefit) มีการใช้ความรู้และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน (scholarship) เกิดผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้ (social impact) สังคม สังคม หมายความรวมถึง กลุ่มบุคคลที่อาจเชื่อมโยงกับชุมชนทั้งในมิติของพื้นที่ ความสนใจร่วมกัน อัตลักษณ์ สถานที่ทำงาน ชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกันทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ หรืออยู่ในภาคส่วนเดียวกัน ชุมชนนักปฏิบัติ ชุมชนที่มีความสนใจร่วมกัน โดยไม่มีข้อจำกัดทั้งในเชิงพื้นที่ ภูมิภาคและประเทศ รวมถึงภาคธุรกิจอุตสาหกรรม สมาคมวิชาชีพ โรงเรียน รัฐบาล ศิษย์เก่า และชุมชนเมือง เป็นต้น โครงการของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ถือได้ว่าเป็น University Engagement โครงการจิตอาสาพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ยุคใหม่ ผ่านภาษาอังกฤษ สู่น้องโรงเรียนเครือข่ายพญาไท (Social Responsibility to Phayatai School Network for Development for Science

Solverwp- WordPress Theme and Plugin